ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๓
สังขตธรรม คืออะไร ?
มีลักษณะอย่างไร ?
คือธรรมอันปัจจัยปรุงแต่ง ฯ
มีลักษณะ คือ มีความเกิดขึ้นในเบื้องต้น มีความดับไปในที
เมื่อยังตั้งอยู่ความแปรปรากฏ ฯ
วิมุตติ กับ
วิโมกข์ ต่างกันอย่างไร ? สมุจเฉทวิมุตติ มีอธิ
ต่างกันแต่โดยพยัญชนะ แต่ก็พ้นจาก ราคะ โทสะ
โมหะได้เท่ โดยอรรถ ฯ
มีอธิบายว่า ความพ้นจากกิเลสด้วยอ ำนาจอริยมรรค กิเลสเหล่านั้นข
ไม่กลับเกิดอีก ฯ
ญาณ ๓ ที่เป็นไปในอริยสัจ ๔ มีอะไรบ้าง ? ญาณ ๓ ที่เป็น
ทุกขนิโรธสัจมีอธิบายอย่างไร ?
มี ๑.
สัจจญาณ ปรีชาหยั่งรู้อริยสัจ
กิจจญาณ ปรีชาหยั่งรู้กิจอันควรท ำ ๓. กตญาณ ปรีชาหยั่งรู้กิจอันท
ำแล้ว ฯ
มีอธิบายว่า
๑. ปรีชาหยั่งรู้ว่า นี้ทุกขนิโรธสัจ จัดเป็นสัจจญาณ
๒.
ปรีชาหยั่งรู้ว่า ทุกขนิโรธสัจเป็นสภาพที่ควรท ำให้แจ้ง จัด ๓. ปรีชาหยั่งรู้ว่า
ทุกขนิโรธสัจที่ควรท ำให้แจ้ง ๆ แล้ว จัดเป
ภพกับภูมิต่างกันอย่างไร
? มีอย่างละเท่าไร ?
ภพ
หมายถึงโลกเป็นที่อยู่ต่างชั้นแห่งหมู่สัตว์ มี ๓ ฯ ภูมิ อันประณีตขึ้นไปเป็นชั้น
ๆ แห่งจิตและเจตสิก มี ๔ ฯ
กาม ภพ ทิฏฐิ
และอวิชชา ได้ชื่อว่า โอฆะ โยคะ และอาสวะ เพราะเหตุไร ?
ได้ชื่อว่าโอฆะ
เพราะเป็นดุจกระแสนำอันท่วมใจสัตว์ ้ ได้ชื่อว่าโยค เพราะประกอบสัตว์ไว้ในภพ
ได้ชื่อว่าอาสวะ เพราะเป็นสภาพหมักห อยู่ในสันดาน ฯ
จริต ๖
ได้แก่อะไรบ้าง ? คนมีจริตมักนึกพล่านจะพึงแก้ด้วยกั อะไร ?
๖. ได้แก่๑.
ราคจริต ๒. โทสจริต ๓. โมหจริต
๔. วิตักกจริต ๕. สัทธาจริต ๖. พุทธิจริต ฯ
พึงแก้ด้วยวิธีเพ่งกสิณ หรือเจริญอานาปานัสสติกัมมัฏฐาน ฯ
คือ อรหํ, สมฺมาสมฺพุทฺโธ,
วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน, สุคโต, โลกวิทู, ปุริสทมฺมสารถิ, สตฺถา เทวมนุสฺสานํ, พุทฺโธ,
ภควา ฯ ๕ บทเบื้องต้นเป็นอัตตหิตสมบัติ ๔ บทเบื้องปลายเป็นปรหิตปฏ
พระโสดาบัน
แปลว่าอะไร ? หมายถึงพระอริยบุคคลผู้ละสังโยชน์อ ได้ขาดบ้าง ?
แปลว่าผู้แรกเข้าถึงกระแสพระนิพพาน ฯ
ละสักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา
และสีลัพพตปรามาสได้ขาด ฯ
ธุดงค์ท่านบัญญัติไว้เพื่อประโยชน์อะไร ? ธุดงค์ที่ภิกษุหนด เฉพาะกาล คือข้อใด
? เพราะเหตุใด ฯ
เพื่อเป็นอุบายขัดเกลากิเลส
และเป็นไปเพื่อความมักน้อยสันโดษ ฯ ข้อ รุกขมูลิกังคะ และ อัพโภกาสิกังคะ ฯ
ธุดงค์ ๒ ข้อนี้ภิกษุถือได้เฉพาะกาลนอกพรรษา เพราะในพรรษาภิก
ถือเสนาสนะเป็นที่อยู่อาศัยประจ ำ ตามพระวินัยนิยม ฯ
๑๐. ประกอบด้วย
พหุสฺสุตา ได้ยินได้ฟังมาก ๒. ธตา ทรงจ ำได้ ๓. วจสา ปริจิตา
ท่องไว้ด้วยวาจา
๔.
มนสานุเปกฺขิตา เอาใจจดจ่อ
๕. ทิฏฺฐิยา สุปฏิวิทฺธา
ขบด้วยทิฏฐิ ฯ
*********
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น