วันพฤหัสบดีที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563

วิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นโท 2554




ปัญหาและเฉลยวิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง 
วันพฤหัสบดี ที่ ๑๕ ธันวาคม         พ.ศ. ๒๕๕๔


            ภิกษุผู้ปฏิบัติพระวินัยส่วนอภิสมาจารให้ได้ชื่อว่าเป็นผู้ป ปฏิบัติอย่างไร ? 

            จะชื่อว่าเป็นผู้ปฏิบัติดีงาม ต้องปฏิบัติโดยสายกลาง คือไม่ถื งมงาย จนเป็นเหตุท ำตนให้ล ำบากเพราะเหตุธรรมเนียมเล็ก ๆ น้อย ๆ ขัดต่อกาลเทศะ และไม่สะเพร่ามักง่าย ละเลยต่อธรรมเนียมของภิ จนถึงท ำตนให้เป็นคนเลวทราม ฯ


๒.    เปลือยกายอย่างไรต้องอาบัติถุลลัจจัย ?                                อย่างไรต้องอาบัติทุกก

๒.    เปลือยกายเป็นวัตรเอาอย่างเดียรถีย์                       ต้องอาบัติถุลลัจจัย ฯ

เปลือยกายท ำกิจแก่กัน เช่นไหว้ รับไหว้ ท ำบริกรรม ให้ของ และเปลือยกายในเวลาฉัน ในเวลาดื่ม ต้องอาบัติทุกกฏ ฯ

            ในบาลีแสดงเหตุนิสัยจะระงับจากอุปัชฌาย์ไว้เท่าไร ?  อะไรบ้าง ?

            แสดงไว้ ๕ ประการ ฯ

คือ อุปัชฌาย์หลีกไปเสียสึกเสีย๑ ๑ตายเสีย ๑ ไปเข้ารีตเดียรถีย์ ๑ สั่งบังคับ ๑ ฯ

            ภิกษุผู้ได้ชื่อว่า วตฺตสมฺปนฺโน ผู้ถึงพร้อมด้วยวัตร มีอะไรบ้าง ?


            วัตรคือแบบอย่างอันภิกษุควรประพฤติในกาลนั้น ๆ ในที่นั้น ๆ ใ แก่บุคคลนั้น ๆ ฯ


มี ๑.      กิจวัตร           ว่าด้วยกิจอันควรท ำ

๒.   จริยาวัตร        ว่าด้วยมารยาทอันควรประพฤติ

๓.    วิธิวัตร              ว่าด้วยแบบอย่าง ฯ

            คารวะ คืออะไร ? การลุกขึ้นยืนรับเป็นกิจที่ผู้น้อยพึงท ำแก แต่ควรเว้นในเวลาเช่นใดบ้าง ?

            คือ กิริยาที่แสดงอาการอ่อนน้อมโดยสมควรแก่กาล สถานที่ กิจ บุคคล ฯ ควรเว้นในเวลานั่งอยู่ในส ำนักของผู้ใหญ่ ไม่ลุกรับผู้น้อยก

ในเวลานั่งเข้าแถวในบ้าน               ในเวลาเข้าประชุมสงฆ์ในอาราม ฯ

            ในวัดที่ไม่มีภิกษุผู้ทรงจ ำปาติโมกข์ได้จนจบ ถึงวันอุโบสถ แล้วชักสุตบท (สวดย่อ) โดยอ้างว่าเกิดเหตุฉุกเฉิน ถูกต้อง เพราะเหตุใด ?


            สวดปาติโมกข์ย่อนั้น ถูกต้องแล้ว แต่จะอ้างว่าสวดย่อเพราะเก ฉุกเฉินนั้น ไม่ถูกต้อง ฯ เพราะการสวดย่อเนื่องจากจได้ไม่หมด ำ ทรงอนุญาตไว้แผนกหนึ่งต่างหา ไม่จัดเข้าในเหตุฉุกเฉิน ๑๐ ประการ ฯ

            สภาคาบัติ  คืออาบัติเช่นไร ?  ภิกษุต้องสภาคาบัติ  จะพึงปฏิบั

            คือ อาบัติที่ภิกษุต้องวัตถุเดียวกัน เพราะล่วงละเมิดสิกขาบ เมื่อภิกษุต้องสภาคาบัติ ห้ามไม่ให้แสดงอาบัตินั้นต่อกัน อาบัติของกัน ให้แสดงในส ำนักภิกษุอื่น ถ้าสงฆ์ต้องสภาคาบ ต้องส่งภิกษุรูปหนึ่งไปแสดงในที่อื่น ภิกษุที่เหลือจึงแสำนักของ ภิกษุนั้น ฯ



            ภิกษุได้รับการสรรเสริญว่า กุลปสาทโก ผู้ยังตระกูลให้เลื่อมใส ผู้ได้รับการต ำหนิว่า กุลทูสโก ผู้ประทุษร้ายตระกูล ความประพฤติเช่นไร ?


            ภิกษุผู้ได้รับการสรรเสริญว่า กุลปสาทโก เพราะถึงพร้อมด้วย ไม่ทอดตนเป็นคนสนิทของสกุลโดยฐานเป็นคนเลว ไม่รุกรานตัดรอนเข แสดงเมตตาจิต ประพฤติพอดีพองาม ท ำให้เขาเลื่อมใสนับถือ ส่วนภิกษุผู้ได้รับการต ำหนิว่า กุลทูสโก ผู้ประทุษร้ายสกุล ให้เขาเสียศรัทธาเลื่อมใส ประจบเขาด้วยกิริยาท ำตนอย่างคฤหัสถ์ ก ำนัลแก่สกุลอย่างคฤหัสถ์เขาท ำกัน ยอมตนให้เขาใช้สอย หรือด้ เอาเปรียบโดยเชิงให้สิ่งของเล็กน้อยด้วยหวังได้มาก ฯ


            ผ้าบริขารโจล ได้แก่ผ้าเช่นไร ? การอธิษฐานด้วยกายกับการอธิ ด้วยวาจาต่างกันอย่างไร ?

            ได้แก่  ผ้าที่ไม่ใช่ของใหญ่ถึงกับนุ่งห่มได้ถุงบาตรเช่นผ้ากรองนย่ามฯ ้ำ

การอธิษฐานด้วยกาย คือ การใช้มือจับหรือลูบบริขารที่จะอธิษ ท ำความผูกใจตามค ำอธิษฐานนั้น ๆ ส่วนการอธิษฐานด้วยวาจา การเปล่งค ำอธิษฐานนั้น ๆ ไม่ถูกของด้วยกายก็ได้ ฯ

๑๐.   ผ้าต่อไปนี้    คือ  สังฆาฏิ  อันตรวาสก  นิสีทนะ  ผ้าอา ผ้าเช็ดปาก  ผ้าถุงบาตร  ผืนใดที่ทรงอนุญาตให้อธิษฐานได้เพียงผ

๑๐. สังฆาฏิ             นิสีทนะ           อันตรวาสก           และผ้าอาบน ้ำฝน ฯ

*********




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น