ปัญหาวิชาธรรม
นักธรรมชันเอก
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดีที๑๗พฤศจิกายน พุทธศักราช๒๕๕๙
๑. อุทเทสว่า“ูทังหลายจงมาดูโลกนี” โลกในทีนีหมายถึงอะไร ?
คนมีลักษณะอย่างไรชื อว่าหมกอยู่ในโลก ?
ตอบ หมายถึง โลก
โดยตรงได้แก่แผ่นดินเป็นที อาศัย โดยอ้อมได้แก่หมู่สัตว์ผู ้อาศัย ฯ คนผู
ร้วิจารณญาณไม่หยั้ไ งเห็นโดยถ่องแท้ เพลิดเพลินในสิห้โทษระเริงจนเกินพอดี งอันใ
ในสิ งอัน อาจให ้โทษ ติดในสิ งอันเป็นอุปการะจนถอนตนไม่ออก
คนมีลักษณะอย่างนี ย่อมได้รับสุข้างทุกข์บ
้าง แม ้สุขก็เป็นเพียงสามิสสุข อันมีเหยืสุข อล่อใจ เป็นเหตุใดุจเหยื้ติด
ออันเบ็ดเกียวไว้ฉะนั น ฯ
๒.
นิพพิทาคืออะไร?ปฏิปทาเครื องดําเนินให้ถึงนิพพิทานั นอย่างไร ? ตอบ นิพพิทา คือความหน่ายในทุกขขันธ์ ฯ
อย่างนี คือ พิจารณาเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั งหลายทั งปวงไม่เที ยง เป็นทุกข์
ธรรมทั งหลายทั งปวงเป็นอนัตตา ย่อมเกิดนิพพิทายในทุกขขันธ์เบื อหน่าไม่เพลิดเพลิน
ยึดมั นหมกมุ่นอยู่ในสังขารอันยั
วยวนเสน่หา ฯ
๓.
วิราคะ ได้แก่อะไร?คําว่า“ฏฏฺปจฺเฉโทู ธรรมเข้าไปตัดเสียซึ งวัฏฏะ” มีอธิบายว่าอย่างไร?
ตอบ ได้แก่ ความสิ
นกําหนัด ฯ
อธิบายว่า วัฏฏะ หมายเอาความเวียนว่ายตายเกิดด้วยอํานาจกิเลสกรรมและวิบาก
วิราคะเขาไปตัดความเวียนว่ายตายเกิดนั้น จึงเรียกว่าวฏฏฺูปจฺเฉโท ธรรมเขาไปตัดเสีย้
ซึ งวัฏฏะ ฯ
๔.
ความหลุดพ้นอย่างไรเป็ นสมุจเฉทวิมุตติ?จัดเป็นโลกิยะหรือโลกุตตระ? ตอบ ความหลุดพ้นด้วยการตัดกิเลสได้เด็ดขาด ได้แก่อริยมรรค ฯ
จัดเป็นโลกุตตระ ฯ
๕.
ธรรมอะไรเป็ นยอดแห่งสังขตธรรม?เพราะเหตุไร? ตอบ อัฏฐังคิกมรรคเป็นยอดแห่งสังขตธรรม ฯ
เพราะองค์๘ แต่ละองค์ ๆ ของอัฏฐังคิกมรรค ก็เป็นธรรมดี ๆ
รวมกันเข๘ย่อมเป็น้าทั ง ธรรมดียิ งนัก และเป็นทางเดียวนําไปถึงความดับทุกข์หรือถึงความหมดจดแห่งทัสสนะ
ฯ
๖.
สันติความสงบ
เกิดขึ นที ดใ ? มีปฏิปทาที
จะดําเนินอย่างไร?
ตอบ เกิดขึ นที กาย วาจา ใจ ฯ
มีปฏิปทาที จะดําเนิน คือ ปฏิบัติกาย วาจา ใจ ให้สงบจากโทษเวรภัยด้วยการละโลกามิส
คือกามคุณ๕ ฯ
๗.
พระบาลีว่า“สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค
ธรรมเป็นที ละอุปธิทัสงปวง”
ในคํานี อุปธิเป็นชื อของอะไรได้บ้าง ? แต่ละอย่างมีอธิบายว่าอย่างไร?
ตอบ เป็นชื อของกิเลสและปัญจขันธ์ ฯ
ที เป็นชื อของกิเลส มีอธิบายว่า เข ้าไปทรงคือเข ้าครอง ที เป็นชื
อแห่งปัญจขันธ์ มีอธิบายว่า เข ้าไปทรงคือหอบไว้ซึ งทุกข์ ฯ
๘.
คติ คืออะไร? สัตวโลกที ตายไป มีคติเป็ นอย่างไรบ้าง? ตอบ คือ ภูมิหรือภพเป็นที ไปหลังจากตายแล ้ว ฯ
มีคติเป็น๒คือ
๑. ทุคติ ภูมิเป็นที ไปข ้างชั ว ซึ งเกิดจากการประพฤติทุจริตทางกายวาจาใจ ๒.
สุคติ ภูมิเป็นที ไปข ้างดี ซึ งเกิดจากการประพฤติสุจริตทางกายวาจาใจ ฯ
๙.
ในพระพุทธคุณ๙
ประการนั น ส่วนไหนเป็นเหตุส่วนไหนเป็นผล ? เพราะเหตุไร? ตอบ พระพุทธคุณ
ส่วนอัตตสมบัติ เป็นเหตุ ส่วนปรหิตปฏิบัติ เป็นผล ฯ
เพราะทรงบริบูรณ์ด้วยพระพุทธคุณส่วนอัตตสมบัติก่อนแล
้วจึงทรงบําเพ็ญพุทธกิจ ให้สําเร็จประโยชน์แก่เวไนย ฯ
เพราะเหตุไร? จงอธิบาย
ตอบ ขอสีลวิสุทธิ้ความบริสุทธิแห่งศีล
และจิตวิสุทธิความบริสุทธิแห่งจิตเป็นเหตุให้เกิดขึ
นและตังอยู่แห่ง
วิปัสสนา ฯ
เพราะผู้มีศีลไม่บริสุทธิจิตย่อมไม่สงบ เมือจิตไม่สงบก็ยากที จะเจริญวิปัสสนา ฯ
ให้เวลา๓ ชั วโมง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น