วันอังคารที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563

วิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชันเอก 2559



ปัญหาวิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชันเอก
สอบในสนามหลวง

วันเสาร์ที๑๙ พฤศจิกายน พุทธศักราช๒๕๕๙

๑.            มูลเหตุที ทําให้เกิดสังฆกรรมมีกี?อะไรบ้าง อย่าง?
ตอบ   มี๒ อย่าง ฯ              คือ
๑. มีภิกษุบริษัทเพิ มจํานวนมากขึ น
๒.  มีพระพุทธประสงค์เพื อให้สงฆ์เป็นใหญ่ในการบริหารหมู่คณะ ฯ

๒.           ญัตติและอนุสาวนา หมายถึงอะไร? อนุสาวนามีใช้ในสังฆกรรมอะไรบ้าง? ตอบ ญัตติ หมายถึง คําเผดียงสงฆ์
อนุสาวนา หมายถึง คําประกาศคําปรึกษาและข ้อตกลงของสงฆ์ ฯ มีใช้ใน ๒ สังฆกรรม คือ

๑.  ญัตติทุติยกรรม
๒.  ญัตติจตุตถกรรม ฯ

๓.           การทักนิมิตในทิศทัง  ๘ นั น ทักทิศละหนถูกต้องหรือไม่? เพราะเหตุไร? จงเขียนคําทักนิมิตในทิศตะวันออกเฉียงเหนือมาดู?
ตอบ ๔.
ไม่ถูกต้อง ฯ
ที ถูกต้องนั นเมื อเริ มต้นทักนิมิตในทิศบูรพาแล ้วทักมาโดยลําดับจนถึงนิมิตสุด
ในทิศบูรพาซํ าอีก ฯ
คําทักนิมิตในทิศตะวันออกเฉียงเหนือว่าดังนี
อุตฺตราย อนุทิสาย กึ นิมิตฺตํ ฯ

คําว่า“เจ้าอธิการในพระวินัยหมายถึงใคร”?มีกี แผนก?อะไรบ้าง?


ตอบ   หมายถึงภิกษุที สงฆ์สมมติให้เป็นเจ้าหน้าที ทํากิจการของสงฆ์ ฯ
มี๕ แผนก ฯ            คือ

๑. เจ้าอธิการแห่งจีวร ๒. เจ้าอธิการแห่งอาหาร ๓. เจ้าอธิการแห่งเสนาสนะ ๔. เจ้าอธิการแห่งอาราม ๕. เจ้าอธิการแห่งคลัง ฯ

๕.           กรานกฐิน ได้แก่การทําอย่า?จงเขียนคําอนุโมทนากฐินมาดูไร?

ตอบ   ได้แก่ เมื อมีผ้าเกิดขึ นแก่สงฆ์ในเดือนท้ายฤดูฝน พอจะทําเป็นไตรจีวรผืนใดผืนหนึ สงฆ์พร้อมใจกันยกให้แก่ภิกษุรูปหนึ งผูผู้เหมาะสมด้รับผ้านั้ไภิกษุ นนําไปทําเป็นจีวรผืนใดผืนหน ให้แล ้วเสร็จในวันนัแล้วมาบอกแก่ภิกษุผู น ้ยกผ้านั นให้เพื ออนุโมทนา ภิกษุเหล่านั นอนุ ทั งหมดนี  คือ กรานกฐิน ฯ
คําอนุโมทนากฐินว่า อตฺถตํ ภนฺเต ฐิสงฺฆสฺสนํธมฺมิโกฐินตฺถาโรก อนุโมทามิ ฯ

๖.            การบอกนิสสัย๔ และอกรณียะ๔ บอกในเวลาใด ? และใครเป็ นผู้บอก?

ตอบ   ท่านให้บอกในลําดับแห่งอุปสมบทแล ้ว ห้ามไม่ให้บอกก่อนหน้าอุปสมบท ฯ อุปัชฌายะบอกก็ได้ กรรมวาจาจารย์หรืออนุสาวนาจารย์บอกก็ได้ ฯ

๗.           อนุวาทาธิกรณ์ คืออะไร?เมื อเกิดขึ นใครต้องขวนขวายเพือระงับ  ? หากปล่อยไว้จะเกิดผลเสียอย่างไร?

ตอบ   คือการโจทกันด้วยอาบัตินั น ๆ ฯ
ภิกษุผู ้เป็นประธานสงฆ์ พึงขวนขวายรีบระงับ ฯ
หากไม่รีบระงับจะทําให้เสียสีลสามัญญตาและเสียสามัคคี เป็นทางแตกเป็นนานาสังวาส ฯ

๘.           ในทางพระวินัย การควํ าบาตร หมายถึงอะไร?แลจะหงายบาตรได้เมื อไร ? ตอบ หมายถึง การไม่ให้คบหาสมาคมด้วยลักษณะ๓ปรการ คือ

๑. ไม่รับบิณฑบาตของเขา ๒. ไม่รับนิมนต์ของเขา ๓. ไม่รับไทยธรรมของเขา ฯ

เมื อผู ้ถูกควํ าบาตรนั นเลิกกล่าวติเตียนพระพุทธ พระธรรมแลพระสงฆ์้ว เป็นต้นนั น กลับประพฤติดี พึงหงายบาตรแก่เขาได้ ฯ


พระราชบัญญ ัติ

๙.            องค์กรปกครองคณะสงฆ์สูงสุด เรียกว่าอะไร?มีกําหนดองค์ประกอบไว้อย่างไรบ้าง? ตอบ เรียกว่า มหาเถรสมาคม ฯ

มีกําหนดองค์ประกอบไว้ดังนี

สมเด็จพระสังฆราชทรงดํารงตําแหน่งประธานกรรมการ โดยตําแหน่ง สมเด็จพระราชาคณะทุกรูป เป็น กรรมการ โดยตําแหน่ง และพระราชาคณะซึ งสมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งตั งมีจํานวนไม่เกิน๑๒ รูป เป็นกรรมการ ฯ

๑๐.       ผู้ใด ส่ความคณะสงฆ์หรือคณะสงฆ์อืนอันอาจก่อให้เกิดความเสื อมเสียหรือความ  แตกแยก มีโทษอย่างไร?
ตอบ   ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึอปรับไม่เกินสองหมื งปีหรื นบาทหรือทั งจําทั งปรับ ฯ



ให้เวลา๓ ชั วโมง


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น