ปัญหาและเฉลยวิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๕
พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๓
อาทิพรหมจริยกาสิกขา กับ
อภิสมาจาริกาสิกขา ต่างกันอย่างไร
?
ต่างกันดังนี้ อาทิพรหมจริยกาสิกขา
ได้แก่ข้อศึกษาอันเป็นเบ พรหมจรรย์ อันได้แก่พระพุทธบัญญัติที่ทรงตั้งไว้ให้เป็นพุท
สิกขาบทอันมาในพระปาติโมกข์ เป็นข้อบังคับโดยตรงที่ภิกษุจะต้อง
ปฏิบัติโดยเคร่งครัด ส่วนอภิสมาจาริกาสิกขา ได้แก่ข้อศึกษาอั อภิสมาจาร
คือมารยาทอันดี ที่ทรงบัญญัติหรืออนุญาตไว้ อั พระปาติโมกข์
เป็นขนบธรรมเนียมอันดีงามของหมู่คณะที่ควรประพฤต
วินัยกรรม กับ สังฆกรรม มีความหมายต่างกันอย่างไร ? การ วินัยกรรมนั้น มีจ
ำกัดบุคคลและสถานที่บ้างหรือไม่อย่างไร ?
ต่างกันอย่างนี้
กรรมที่ภิกษุแต่ละรูปหรือหลายรูปจะพึงท ำตาม พินทุ อธิษฐาน วิกัปจีวร เป็นต้น
เรียกว่าวินัยกรรม กร ครบองค์เป็นสงฆ์ ำนวนอย่างตมีจ ำตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปจะพึงทำเช่น อปโลกนกรรมเป็นต้น
เรียกว่าสังฆกรรม ฯ
จ
ำกัดบุคคลและสถานที่ไว้ดังนี้
แสดงอาบัติ ต้องแสดงแก่ผู้เป็นภิกษุด้วยกัน ๒.
อธิษฐาน ต้องท ำเอง
วิกัป ต้องวิกัปแก่สหธรรมิกทั้ง ๕ คือ
ภิกษุ ภิกษุณี สามเณร สามเณรี รูปใดรูปหนึ่ง
๔.
ห้ามไม่ให้ท ำในที่มืด แต่ท
ำในสีมาหรือนอกสีมาใช้ได้ทั้ง
ตามนัยแห่งอรรถกถา อาจารย์มีกี่ประเภท ? อะไรบ้าง ? ค ำขอนิ
อาจารย์ว่าอย่างไร ?
มี ๔ ประเภท ฯ
คือ๑.
ปัพพัชชาจารย์ อาจารย์ในบรรพชา ๒. อุปสัมปทาจารย์ อาจารย์ในอุปสมบท
นิสสยาจารย์ อาจารย์ผู้ให้นิสสัย ๔. อุทเทสาจารย์
อาจารย์ผู้บอกธรรม ฯ
ว่า อาจริโย เม ภนฺเต โหหิ อายสฺมโต นิสฺสาย วจฺฉามิ ฯ
กิริยาที่แสดงความอ่อนน้อมต่อกันและกันเป็นความดีของหมู่ แต่
ถูกต้องตามกาลเทศะ ในข้อนี้ควรงดเว้นในกรณีใดบ้าง ? จงบอกมาส
ข้อ
ได้แก่ในเวลาดังต่อไปนี้ (ตอบเพียง ๕ ข้อ)
๑. ในเวลาประพฤติวุฏฐานวิธี คืออยู่กรรม เพื่อออกจากอาบัติสังฆ ๒.
ในเวลาถูกสงฆ์ท ำอุกเขปนียกรรม ที่ถูกห้ามสมโภคและสังวาส ๓. ในเวลาเปลือยกาย ๔.
ในเวลาเข้าบ้านหรือเดินอยู่ตามทาง
๕.
ในเวลาอยู่ในที่มืดที่แลไม่เห็นกัน
๖. ในเวลาที่ท่านไม่รู้ คือนอนหลับหรือขลุกขลุ่ยอยู่ด้วยธุระอ ส่งใจไปอื่น
แม้ไหว้ ท่านก็คงไม่ใส่ใจ
๗.
ในเวลาขบฉันอาหาร
๘.
ในเวลาถ่ายอุจจาระ ถ่ายปัสสาวะ ฯ
ในวัดหนึ่ง ถ้ามีภิกษุจ ำพรรษา ๔ รูป ๓ รูป ๒ รูป หรือ
เมื่อถึงวันอุโบสถพึงปฏิบัติอย่างไร ?
๔ รูป พึงประชุมกันในโรงอุโบสถสวดปาติโมกข์
๓ รูป
พึงประชุมกันท ำปาริสุทธิอุโบสถ ดังนี้ ประชุมกันใน แล้วรูปหนึ่งสวดประกาศญัตติ
จบแล้วแต่ละรูปพึงบอกความบริสุทธ ๒ รูป ไม่ต้องตั้งญัตติ
พึงบอกความบริสุทธิ์แก่กันและกัน ๑ รูป พึงอธิษฐาน ฯ
คือ การท
ำนอกรีตนอกรอยของสมณะ ฯ
ความประพฤติไม่ดีไม่งาม และเล่นมีประการต่าง ๆ
จัดเข้าในอน ความประพฤติเลวทราม จัดเข้าในปาปสมาจาร ความเลี้ยงชีพไม่สมคว
จัดเข้าในอเนสนา ฯ
ภิกษุผู้ได้ชื่อว่าโคจรสัมปันโนผู้ถึงพร้อมด้วยโคจรเพราะปฏิบ?
เพราะเว้นอโคจร ๖
จะไปหาใครหรือจะไปที่ไหน เลือกบุคคล เลือกสถา อันสมควร
ไปเป็นกิจลักษณะในเวลาอันควร ไม่ไปพร ่ำเพรื่อ กลับ
ประพฤติตนไม่ให้เป็นที่รังเกียจของเพื่อนสหธรรมิกเพราะการไปเที่ฯ
ยาวกาลิกกับยาวชีวิกได้แก่กาลิกเช่นไร ? กาลิกระคนกันมีกฎเกณฑ
อายุไว้อย่างไร ? จงยกตัวอย่าง
ยาวกาลิก
ได้แก่ของที่ให้บริโภคได้ชั่วคราว ตั้งแต่เช้าถึงเที่
ได้แก่ของที่ให้บริโภคได้เสมอไป ไม่มีจ ำกัดกาล ฯ
กฎเกณฑ์ก ำหนดอายุตามกาลิกที่มีอายุน้อยที่สุด ฯ
เช่นยาผง เป คลุกกับน ้ำผึ้งที่เป็นสัตตาหกาลิก ต้องถืออายุ ๗ วัน เป็นเ
ค ำว่า อันโตวุฏฐะ
อันโตปักกะ สามปักกะ หมายถึงอะไร ?
อันโตวุฏฐะ
หมายถึงยาวกาลิกที่ภิกษุเก็บไว้ในที่อยู่ของตน ฯ อันโตปักกะ
หมายถึงยาวกาลิกที่ภิกษุหุงต้มภายใน (ที่อยู่ของต สามปักกะ
หมายถึงยาวกาลิกที่ภิกษุท ำให้สุกเอง ฯ
๑๐. ยกเว้นเป็นพิเศษเฉพาะภิกษุอาพาธถูกงูกัด
ให้ฉันยามหาวิกัฏ ๔ คือ เถ้า และดินได้ ฯ
*********
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น