วันพุธที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563

วิชาธรรม นักธรรมชั้นเอก 2553





ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นเอก สอบในสนามหลวง 
วันอังคาร        ที่ ๒๓ พฤศจิกายน             พ.ศ.๒๕๕๓



            อุทเทสว่า “สูทั้งหลายจงมาดูโลกนี้ อันตระการดุจราชรถที่พวก หมกอยู่ แต่พวกผู้รู้หาข้องอยู่ไม่” จงวิจารณ์ว่า ตอน ปรมัตถปฏิปทา ตอนไหนแสดงปรมัตถ์ ตอนไหนแสดงสังสารวัฏฏ์ ? เพราะเหตุไร ?


            ตอนที่ว่า “สูทั้งหลายจงมาดูโลกนี้ อันตระการดุจราชรถ” ปรมัตถปฏิปทา เพราะประสงค์ให้ดูเพื่อนิพพิทาเป็นต้น

ตอนที่ว่า “แต่พวกผู้รู้หาข้องอยู่ไม่” แสดงปรมัตถ์ เพราะแสด ที่เป็นเหตุให้พ้นจากความข้องอยู่ซึ่งเป็นปรมัตถธรรม อันจ การปฏิบัติในปรมัตถปฏิปทาโดยล ำดับ

ตอนที่ว่า “ที่พวกคนเขลาหมกอยู่” แสดงสังสารวัฏฏ์ เพราะต้องว ท่องเที่ยวไปด้วยความเขลา ฯ

  

            ข้อว่า ผู้ใดจักระวังจิต ผู้นั้นจักพ้นจากบ่วงแห่งมาร ดังน และ บ่วงแห่งมาร ได้แก่อะไร ? เพราะเหตุไรจึงชื่ออย่างนั้น ?

            มาร ได้แก่กิเลสกาม คือ เจตสิกอันเศร้าหมอง ชักให้ใคร่ให อยากได้ ชื่ออย่างนั้นเพราะเป็นโทษล้างผลาญคุณความดีและท ำให้ บ่วงแห่งมาร ได้แก่วัตถุกาม คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผ อันเป็นของน่าชอบใจ ชื่ออย่างนั้นเพราะเป็นอารมณ์เครื่องผูกใจใ

            ทุกขตา ความเป็นทุกข์แห่งสังขารนั้น ก ำหนดเห็นด้วยทุกข์ วิปากทุกข์ได้แก่ทุกข์เช่นไร ?

            ๑๐ หมวด ฯ ได้แก่วิปฏิสาร คือความร้อนใจ การเสวยกรรมกรณ์ค ถูกลงอาชญา ความฉิบหาย ความตกยาก และความตกอบาย ฯ

            ค ำว่า สุคติ ในพระบาลีว่า อสงฺกิลิฏฺเฐจิตฺเต สุคติ ปาฏิกงฺ คืออะไร ? มีอะไรบ้าง ?


            คือ ภูมิเป็นที่ไปข้างดี ฯ มี เทวะ ๑ มนุษย์ ๑ หรือ โลกสวรรค์ ๑ ฯ


            วิมุตติ ความหลุดพ้นนั้น ตัวหลุดพ้นคืออะไร ? หลุดพ้นจา ตัวรู้ว่าหลุดพ้นคืออะไร ? จงอ้างหลักฐานประกอบด้วย

            ตัวหลุดพ้นคือจิต ฯ หลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลาย  ตามพระบาล
กามาสวาปิ จิตฺตํ วิมุจฺจิตฺถ ภวาสวาปิ จิตฺตํ วิมุจฺจิตฺ จิตฺตํ วิมุจฺจิตฺถ จิตหลุดพ้นแล้ว แม้จากอาสวะเนื่องด้วยกาม แล้ว แม้จากอาสวะเนื่องด้วยภพ จิตหลุดพ้นแล้ว แม้จากอาสวะเนื อวิชชา ฯ ญาณเป็นตัวรู้ ตามพระบาลีว่า วิมุตฺตสฺมึ ํวิมุตฺ โหติ เมื่อหลุดพ้นแล้ว ญาณว่าหลุดพ้นแล้ว ย่อมมี ฯ



            สันติ  ความสงบ  เป็นโลกิยะหรือโลกุตตระ ?  จงตอบโดยอ้างพระบาล
มาประกอบ

            เป็นได้ทั้งโลกิยะและโลกุตตระ ฯ ที่เป็นโลกิยะได้ในบาลีว่า

            หิ  รุณฺเณน  โสเกน  สนฺตึ  ปปฺโปติ  เจตโส

บุคคลย่อมถึงความสงบแห่งจิต ด้วยร้องไห้ ด้วยเศร้าโศกก็หาไม ที่เป็นโลกุตตระได้ในบาลีว่า

โลกามิสํ        ปชเห   สนฺติเปกฺโข

ผู้เพ่งสันติพึงละโลกามิสเสีย ฯ


            นิวรณ์ คืออะไร ? เมื่อจิตถูกนิวรณ์นั้น ๆ ครอบง ำ ควรใช้ บทใดเป็นเครื่องแก้ ?


            คือ  ธรรมอันกั้นจิตไม่ให้บรรลุความดี ฯ

กามฉันท์ ใช้ อสุภกัมมัฏฐาน หรือกายคตาสติเป็นเครื่องแก้ พยาบาท ใช้ เมตตา กรุณา มุทิตา พรหมวิหาร ๓ ข้อต้นเป็นเครื่ ถีนมิทธะ ใช้ อนุสสติกัมมัฏฐานเป็นเครื่องแก้ อุทธัจจกุกกุจจะ ใช้ กสิณหรือมรณัสสติเป็นเครื่องแก้ วิจิกิจฉา ใช้ ธาตุกัมมัฏฐานหรือวิปัสสนากัมมัฏฐานเป็นเครื่อ

            จตุธาตุววัตถานกัมมัฏฐาน คืออะไร ? ผู้เจริญกัมมัฏฐานนี้จะ พิจารณาอย่างไร ?


            คือ ความก ำหนดหมายซึ่งธาตุ ๔ โดยสภาวะความเป็นเองของธาตุ พึงกหนดพิจารณาทั้งกายตนเองและกายผู้อื่นให้เห็นเป็นแต่สักว่า ำ พึงก ำหนดให้รู้จักธาตุภายในภายนอกให้เห็นเป็นแต่สักว่าธาตุไป ไม่ใช่สัตว์ไม่ใช่บุคคล ฯ

            ปัญหาว่าตายแล้วเกิดหรือตายแล้วสูญจะหมดไปได้ เมื่อเจริญวิ ได้ชั้นไหนแล้ว ? เพราะได้พิจารณาเห็นอย่างไร ?

            ชั้นกังขาวิตรณวิสุทธิ ฯ

เพราะได้พิจารณาก ำหนดรู้จริงเห็นจริงซึ่งนามรูปทั้งเหตุทั้งปั กังขาในกาลทั้ง ๓ เสียได้ ไม่สงสัยว่า เราจุติมาจากไหน เราเป็ เราจะไปเกิดที่ไหน เป็นต้น ฯ

  
๑๐.   พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงสัญญา ๑๐ กะใคร ? อนิจจสัญญา พระผู พระภาคเจ้าทรงสอนให้พิจารณาธรรมอะไร ?

๑๐. พระอานนทเถระ ฯ

พิจารณาขันธ์ ๕ คือ             รูป      เวทนา   สัญญา     สังขาร     วิญญาณ ฯ

*********


















ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น