วันพุธที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563

วิชาธรรม นักธรรมชั้นเอก 2554




ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นเอก สอบในสนามหลวง

วันอังคาร       ที่ ๒๓ พฤศจิกายน   พ.ศ.๒๕๕๓ 



                        สัทธรรมปฏิรูป  คืออะไร ?  เกิดขึ้นจากอะไร ?

                        คือ สัทธรรมชนิดที่ปลอมหรือเทียม ไม่ใช่สัทธรรมแท้ ฯ เกิดขึ้นจากความเห็นผิดหรือเข้าใจผิดของผู้เรียบเรียง เมื่อเรียบ ก็หารู้ไม่ ด้วยเข้าใจว่าของตนถูก แล้วได้น ำมาปนไว้ในสัทธรรม

                        บทอุทเทสว่า เอถ ปสฺสถิมํ โลกํ ซึ่งแปลว่า สูทั้งหลายจงมาดูโลก พระศาสดาตรัสชวนให้มาดูโลกโดยมีพระประสงค์อย่างไร ?

                        ทรงมีพระประสงค์จะทรงปลุกใจพวกเราให้หยั่งเห็นซึ้งลงไปถึงคุณโทษปร มิใช่ประโยชน์แห่งสิ่งนั้น ๆ อันคุมเข้าเป็นโลก จะได้ไม่ตื่ สิ่งนั้น ๆ รู้จักละสิ่งที่เป็นโทษ ไม่ข้องติดอยู่ในสิ่งที่

                        ทุกข์ประจ ำสังขารกับทุกข์จร  ต่างกันอย่างไร ?

                        ทุกข์ประจ ำสังขาร เป็นทุกข์ที่ต้องมีแก่คนทุกคน ไม่สามารถจ หลีกเลี่ยงพ้น ได้แก่ ความเกิด ความแก่ ความตาย ส่วนทุกข์จรเป็นทุกข์ที่เกิดขึ้นเป็นครั้งคราว ได้แก่ โสกะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส ประจวบด้วยคนหรือสิ่งอันไม่เป็นที่รั พรากจากคนหรือสิ่งอันเป็นที่รัก ปรารถนาไม่ได้สมหวัง ฯ


                        ในวิมุตติ ๕ วิมุตติใดจัดเข้าใน  อริยมรรค  อริยผล  นิพพาน ?

                        สมุจเฉทวิมุตติ จัดเข้าใน อริยมรรค ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ จัดเข้าใน อริยผล นิสสรณวิมุตติ จัดเข้าใน นิพพาน ฯ

                        จงจัดมรรค ๘ เข้าในวิสุทธิ ๗ มาดู

                        สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ จัดเข้าในสีลวิสุทธิ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ จัดเข้าในจิตตวิสุทธิ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ จัดเข้าใน ทิฏฐิวิสุทธิ กังขาวิตร มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิญาณทัสสนวิสุทธิ ฯ

๖.     พระศาสดาทรงสอนภิกษุโดยยกเอาเรือมาเป็นอุปมาว่า                 สิญฺจ ํภิกฺขุ
นาวํ สิตฺตา เต ลหุเมสฺสติ แปลว่า ภิกษุ เธอจงวิดเ เรืออันเธอวิดแล้วจักพลันถึง มีอธิบายโดยย่อว่าอย่างไร ?

                        มีอธิบายโดยย่อว่า เรือ หมายถึงอัตภาพ วิดเรือ คือวิดน ้ำที่ ซึ่งหมายถึงการบรรเทากิเลสและบาปธรรม ที่ไหลเข้ามาท่วมทับจิตใจ ให้บางเบา จนขจัดได้ขาด เมื่ออัตภาพนี้เบาก็จักปฏิบัติเพื่อไปส ได้เร็ว ฯ


                        กัมมัฏฐานต่อไปนี้ คือ กสิณ จตุธาตุววัตถานะ พุทธานุสสต สบายแก่คนผู้มักถูกนิวรณ์ข้อใดครอบง ำ ?

                        กสิณ เป็นที่สบายแก่คนผู้มักถูกอุทธัจจกุกกุจจะครอบง ำ จตุธาตุววัตถานะ เป็นที่สบายแก่คนผู้มักถูกวิจิกิจฉาครอบง ำ พุทธานุสสติ เป็นที่สบายแก่คนผู้มักถูกถีนมิทธะครอบง ำ ฯ

                        ในอรกสูตร กล่าวไว้ว่า ชีวิตของมนุษย์ทั้งหลายเปรียบเหมือนหย ดังนี้ มีอธิบายอย่างไร ? และที่กล่าวไว้เช่นนั้นมีประโยชน์อ

                        มีอธิบายว่า ธรรมดาหยาดนำค้างที่จับอยู่ตามยอดหญ้า  เมื่อถูกแสงอ ในเวลาเช้า ก็พลันจะเหือดแห้งหายไป ฉันใด ชีวิตของมนุษย์ทั ก็ฉันนั้น มีความเกิดแล้วก็มีความแก่ ความเจ็บ ความตาย คอยเบี ท ำให้ด ำรงอยู่ได้ไม่นาน ไม่ถึงร้อยปีก็จะหมดไป ฯ

เพื่อเป็นเครื่องเตือนใจให้รู้สึกด้วยปัญญา ท ำให้ไม่ประมาทในช ความดี ฯ



                        ในอนัตตลักขณสูตรพระศาสดาทรงยกธรรมอะไรขึ้นแสดงว่าเป็นอนัตตา ? และในตอนท้ายของพระสูตร ทรงแสดงอานิสงส์แห่งวิปัสสนาว่าอย่างไ

                        ทรงยก  ขันธ์๕  คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ขึ้นแสดงฯ

ทรงแสดงไว้ว่า เอวํ ปสฺสํ ภิกฺขเว สุตวา อริยสาวโก เป็นต้น ความว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เมื่ ย่อมเบื่อหน่าย ย่อมฟอกจิตให้หมดจด เพราะการฟอกจิตให้หมดจด จิตนั้นก็พ้นจากอาสวะทั้งปวง เมื่อจิตพ้นพิเศษแล้ว ก็มี พ้นแล้ว และเธอรู้ประจักษ์ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์คือกิ ได้ท ำเสร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องท ำเช่นนี้ ไม่มีอีก ฯ



๑๐.  ในคิริมานนทสูตร              ข้อว่าปหานสัญญาพระศาสดาทรงสอนให้ละอะไร ?

๑๐.  ทรงสอนให้ละ กามวิตก พยาบาทวิตก วิหิงสาวิตก และอกุศลบาปธรรม ที่เกิดขึ้นแล้ว ฯ

*********



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น