ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นเอก สอบในสนามหลวง
วันพุธ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖
๑. นิพัทธทุกข์ กับ สหคตทุกข์ ต่างกันอย่างไร ?
เฉลย นิพัทธทุกข์คือทุกข์เนืองนิตย์หรือทุกข์เป็นเจ้าเรือนได้แก่หนาว ร้อน
หิว ระหาย ปวดอุจจาระ ปวดปัสสาวะ
ส่วนสหคตทุกข์คือทุกข์ไปด้วยกันหรือทุกข์ก ำกับกันได้แก่ทุกข์มี
เนื่องมาจากวิบุลผลฯ
๒. ความเป็นอนัตตาของสังขารพึงก ำหนดรู้ด้วยอาการอย่างไรบ้าง ?
เฉลย ๑. ด้วยไม่อยู่ในอ หรือด้วยฝืนความปรารถนาำนาจ
๒. ด้วยแย้งต่ออัตตา
๓. ด้วยความเป็นสภาพหาเจ้าของมิได้
ด้วยความเป็นสภาพสูญคือว่างหรือหายไปฯ
ค ำว่า วฏฺฏ ในค ำว่า “วฏฺฏูปจฺเฉโท” หมายถึงอะไร ? วฏฺฏ นั ขาดสายด้วยอาการอย่างไร ?
เฉลย หมายถึง ความเวียนเกิด้วยอ ำนาจกิเลสกรรม วิบาก ฯ วฏฺฏ นั้นชื่อว่าขาดสายด้วยอาการที่ละกิเลสอันเป็นเบื้องต้นเสฯ
ความเชื่อว่ามีพระเจ้าผู้สร้าง ท ำการอ้อนวอนและบวงสรวงเป็นอาทิ จ อาสวะข้อไหน ?
เฉลย จัดเข้าในอวิชชาสวะ ฯ
พระบาลีว่า “นิกฺขิปิตฺวา ครุํ ภารํ อญฺญํ ภารํ อนาทิย อันหนักเสียแล้ว ไม่ถือเอาภาระอันอื่น” ถามว่า “ภาระ” “การไม่ถือเอ “การปลงภาระ” ได้แก่อะไร ?
เฉลย ภาระ ได้แก่เบญจขันธ์ฯ การไม่ถือเอาภาระได้แก่การไม่ถือเอาเบญจขันธ์ด้วยอุปาทานฯ การปลงภาระ ได้แก่การถอนอุปาทานในเบญจขันธ์ฯ
คุณของพระธรรมส่วนปริยัติ ปฏิบัติ และปฏิเวธาอย่างไรโดยย่อว่?
จงอธิบาย
เฉลย คุณของปริยัติธรรมคือให้รู้วิธีบ สมาธิำเพ็ญศีลปัญญา
คุณของปฏิปัตติธรรมคือทกาย ำ วาจา ใจ ให้บริสุทธิ์จนบรรลุมรรค
ผล นิพพาน
คุณของปฏิเวธธรรมคือละกิเลสเป็นสมุจเฉทปหานบรรลุถึงความสุข
อย่างยิ่งฯ
ในอรกสูตรกล่าวไว้ว่า ชีวิตของมนุษย์ทั้งหลายเปรียบเหมือนชิ้น มีอธิบายอย่างไร ? และที่กล่าวไว้เช่นนั้นเพื่อประโยชน์อะไร ?
เฉลย มีอธิบายว่าธรรมดาว่าชิ้นเนื้อที่บุคคลเอาลงในกะทะเหล็กอันร้อนตล
ยังค ย่อมจะพลันไหม้ำ ไม่ตั้งอยู่นานฉันใดชีวิตก็ถูกเพลิงกิเลสและเพลิ ทุกข์เผาผลาญให้เหี้ยมเกรียมไม่ทนอยู่นานฉันนั้นฯ มีประโยชน์คือเป็นเครื่องเตือนใจให้รู้สึกด้วยปัญญาท ำให้ไม่ประมาท ในชีวิตเร่งสั่งสมความดีฯ
๘. วิปลาส คืออะไร ? จ ำแนกโดยวัตถุเป็นที่ตั้งมีกี่อย่าง ? อะไรบ เฉลย คือ กิริยาที่ถือเอาโดยอาการวิปริตผิดจากความจริงฯมี๔อย่าง ฯ คือ
ความส ำคัญคิดเห็นในสิ่งที่ไม่เที่ยงว่าเที่ยง
ความส ำคัญคิดเห็นในสิ่งที่เป็นทุกข์ว่าเป็นสุข
ความส ำคัญคิดเห็นในสิ่งที่ไม่ใช่ตนว่าเป็นตนและ
ความส ำคัญคิดเห็นในสิ่งที่ไม่งามว่างามฯ
ในนวสีวถิกาปัพพะ เมื่อเห็นซากศพชนิดใดชนิดหนึ่งใน ๙ ชน พึงภาวนาอย่างไร ?
เฉลย พึงภาวนาโดยการน้อมเข้ามาสู่กายนี้นี่แลว่าอยมฺปิโขกาโย ถึงร่างกาย อันนี้เล่าเอวํธมฺโมก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดาเอวํภาวีจักเป็นอย่างนี้เอวํ อนตีโต ไม่ล่วงความเป็นอย่างนี้ไปได้ฯ
๑๐.ข้อว่า อนัตตสัญญาในคิริมานนทสูตร ทรงให้พิจารณาอะไรว่าเป็นอนัตตา?
เฉลย ทรงให้พิจารณาอายตนะภายในคือตา หูจมูกลิ้นกาย ใจ และอายตนะ ภายนอก คือ รูป เสียง กลิ่นรส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ ว่าเป็น อนัตตา ฯ
*********
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น