ปัญหาและเฉลยวิชาวินัยบัญญัติ
นักธรรมชั้นเอก สอบในสนามหลวง
วันศุกร์ ที่
๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖
๑. ญัตติ กับ อนุสาวนา ต่างกันอย่างไร ? มีใช้ในสังฆกรรมอะไรบ้าง
เฉลย ญัตติคือการเผดียงสงฆ์ส่วนอนุสาวนาคือการประกาศความปรึกษาและ
ตกลงของสงฆ์ ฯ
ญัตติมีใช้ในญัตติกรรมญัตติทุติยกรรมและญัตติจตุตถกรรมส่วน อนุสาวนา
มีใช้เฉพาะในญัตติทุติยกรรมและญัตติจตุตถกรรมฯ
สงฆ์ผู้จะให้การอุปสมบทแก่กุลบุตร ในพระวินัยมีก ำหนดจ ำ ไว้อย่างไร ?
ถ้าไม่ครบตามจ ำนวนนั้นจัดเป็นวิบัติอะไร ?
เฉลย มีก ำหนดอย่างนี้คือในมัธยมชนบท๑๐
รูปเป็นอย่างตในปัจจันตชนบท ่ำ
รูปเป็นอย่างตฯ ่ำ
จัดเป็นปริสวิบัติฯ
เฉลย สีมาเป็นเขตประชุมของสงฆ์ผู้ทำกรรมพระศาสดาทรงพระอนุญาตให้สงฆ์ พร้อมเพรียงกันท
ำภายในสีมาเพื่อจะรักษาสามัคคีในสงฆ์ฯ อย่างนี้คือ ก
ำหนดไม่ให้สมมติสีมาเล็กเกินไปจนจุภิกษุ๒๑รูปนั่งไม่ได้
และไม่ให้สมมติสีมาใหญ่เกินไปกว่า๓โยชน์ ฯ
นิมิตรอบโรงอุโบสถ มีความส ำคัญอย่างไร ? ค
ำทักนิมิตในทิศตะวั อย่างไร ?
เฉลย มีความส
ำคัญคือใช้เป็นเครื่องหมายเพื่อก ำหนดเขตสีมาส ำ ท ำสังฆกรรมฯ
ค
ำทักนิมิตในทิศตะวันออกว่า“ปุรตฺถิมาย ทิสาย กึ นิมิตฺตํฯ”
เจ้าอธิการตามพระวินัยหมายถึงใคร ?
สงฆ์พึงสวดสมมติเจ้าอธิการด้วยกรรม วาจาประเภทใด ?
เฉลย หมายถึง
ภิกษุผู้ได้รับสมมติจากสงฆ์ให้เป็นเจ้าหน้าที่ทๆฯ ำการสง
พึงสวดสมมติด้วยญัตติทุติยกรรมฯ
เฉลย ได้แก่เมื่อมีผ้าเกิดขึ้นแก่สงฆ์ในเดือนท้ายฤดูฝนพอจะท
ำเป็นไตรจีวร ผืนใดผืนหนึ่งได้สงฆ์พร้อมใจกันยกให้แก่ภิกษุรูปหนึ่งผู้เหมาะส
ผู้ได้รับผ้านั้นน ำไปท ำเป็นจีวรผืนใดผืนหนึ่งให้แล้วเสร็จใแล้วมา
บอกแก่ภิกษุผู้ยกผ้านั้นให้เพื่ออนุโมทนาภิกษุเหล่านั้นอนุโมทนา
ทั้งหมดนี้คือกรานกฐินฯ
ค
ำอนุโมทนากฐินว่าอตฺถตํ ภนฺเต สงฺฆสฺส กฐินํ ธมฺมิโก กฐินต อนุโมทามิ ฯ
๗. ภิกษุผู้ก่อวิวาทาธิกงไรชื่อวณ์ย่าปรารถนาดี อย่างไรชื่อว่าปรารถนาเลว ?
เฉลย ผู้ก่อวิวาทเพราะเห็นแก่พระธรรมวินัย(ปราศจากโลภะ โทสะ โมหะ)
ชื่อว่าท ำด้วยปรารถนาดี
ผู้ก่อวิวาทด้วยทิฐิแม้รู้ว่าผิดก็ขืนทานะ(ประกอบด้วยโลภะ ำ
โทสะ
โมหะ) ชื่อว่าท ำด้วยปรารถนาเลวฯ
๘. จงให้ความหมายของค ำต่อไปนี้
ก. ปริวาส ข. อัพภาน ฯ
เฉลย ก.
ได้แก่การประพฤติวัตรพิเศษอย่างหนึ่งเท่าจ ำนวนวันที่ภิกษุผ
สังฆาทิเสสแล้วปกปิดไว้ฯ
ข.
ได้แก่การที่สงฆ์สวดระงับอาบัติสังฆาทิเสสฯ
ผู้ใดใส่ความคณะสงฆ์หรือคณะสงฆ์อื่นอันอาจก่อให้เกิดความเสื่อ
ความแตกแยก มีโทษอย่างไร ?
เฉลย ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี
หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท ทั้งจ ำทั้งปรับฯ
๑๐.
พระภิกษุจะไม่สังกัดอยู่ในวัดใดวัดหนึ่งเลยได้หรือไม่ จง ประกอบด้วย ?
เฉลย ไม่ได้
ตามมาตรา ๒๗
(๓) แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์๒๕๐๕, (แก้ไข
เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ฉบับที่๒).ศ.๒๕๓๕ ฯ
*********
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น