ปัญหาวิชาธรรม นักธรรมชันโท
สอบในสนามหลวง
วันเสาร์ที่๒๘ พฤศจิกายนพุทธศักราช๒๕๕๘
๑.
สมถกรรมฐาน
และวิปัสสนากรรมฐาน มุ่งผลแห่งการปฏิบัติอย่างไร
?
เฉลย สมถกรรมฐานมุ่งผลคือความสงบใจ
ส่วนวิปัสสนากรรมฐานมุ่งผลคือความเรือง ปัญญา
ฯ
๒.
ปาพจน์๒ คือธรรมและวินัย นั้นทราบแล้ว
อยากทราบว่าความปฏิบัติอย่างไรจัดเป็นธรรม ความปฏิบัติอย่างไรจัดเป็ นวินัย ?
เฉลย ความปฏิบัติเป็นทางน าความประพฤติและอัธยาศัยให
้ประณีตขึ้น จัดเป็น ความปฏิบัติเนื่องด
้วยระเบียบอันทรงตั้งไว ้ด ้วยพุทธอาณาเป็นสิกขาบทหรือ อภิสมาจาร เป็นทางน
าความประพฤติให ้สม ่าเสมอกัน หรือเป็นเครื่องบริหารค จัดเป็นวินัย ฯ
๓.
โลกัตถจริยา
ที่พระพุทธองค์ทรงประพฤติเป็นประโยชน์แก่โลกนั้น มีอธิบายอย่างไร ?
เฉลย มีอธิบายว่า
ทรงประพฤติเป็นประโยชน์แก่มหาชนที่นับว่าสัตวโลกทั่วไปเช่นทรงแผ่ พระญาณตรวจดูสัตวโลกทุกเช ้าคผู
้ใดปรากฏในข่ายพระญาณเสด็จไปโปรดผู ้นั้น สรุปคือ
ทรงสงเคราะห์คนทั้งหลายโดยฐานเป็นเพื่อนมนุษย์ดฯ ้วยกัน
เฉลย คือกายวิเวกสงัดกายได
้แก่อยู่ในที่สงัดจิตตวิเวก สงัดจิตได ้แก่ท าจิตให ้สงบ
ด ้วยสมถภาวนา อุปธิวิเวกสงัดกิเลสได
้แก่ทาใจใหบริสุทธิ้์จากกิเลสดวยวิปัสสนา้ ภาวนา ฯ
๕.
ในสังขาร๓ อะไรชื่อว่ากายสังขารและวจีสังขาร ? เพราะเหตุไรจึงได้ชื่ออย่างนั้น ?
เฉลย ลมอัสสาสะปัสสาสะได
้ชื่อว่ากายสังขารเพราะปรนปรือกายให ้เป็นอยู่ วิตกกับ วิจารได ้ชื่อว่าวจีสังขเพราะตริแล
้วตรองแล ้วจึงพูดไม่เช่นนั้นวาจานั้นจักไม่เป็น ภาษา ฯ
๖.
อปัสเสนธรรมข้อว่า“พิจารณาแล้วบรรเทาของอย่างหนึ่ง” งอย่างหนึ่งนั้น
คืออะไร ? เฉลย คืออกุศลวิตกอันสัมปยุตด ้วพยกามาบาท วิหิงสา ฯ
๗. อุปาทานคืออะไร ? การถือเราถือเขาด้วยอ
านาจมาจนเป็ะ นเหตุถือพวกจัดเป็ น อุปาทานอะไร ในอุปาทาน๔ ?
เฉลย คือการถือมั่นข
้างเลว ได ้แก่ถือรั้น ฯ จัดเป็นอัตตวาทุปาทาน ฯ
๘.
ธรรมมัจฉริยะ ความตระหนี่ธรรม มีอธิบายอย่างไร ?
เฉลย มีอธิบายว่า ความหวงธรรมหวงศิลปวิทยาไม่ปรารถนาจะแสดงจะบอกแก่คนอื่น เกรงว่าเขาจะรู ้เทียมตน ฯ
๙.
ชิวหาวิญญาณ
และกายวิญญาณ เกิดขึ้นได้เพราะอาศัยอะไรบ้าง ?
เฉลย ชิวหาวิญญาณเกิดขึ้น เพราะอาศัยลิ้นกับรส (กระทบกัน) และกายวิญญาณเกิด เพราะอาศัยกายกับโผฏฐัพพะ (กระทบกัน) ฯ
๑๐. อุปฆาตกกรรม คือกรรมตัดรอนท าหน้าที่อะไร ?
เฉลย ท
าหน้าที่ตัดรอนผลแห่งชนกกรรมและอุปัตถัมภกกรรมให ้ขาดแล ้ว เข ้าใ
แทนที่(ชนกกรรมและอุปัตถัมภกกรรมนั้น) ฯ ขบด ้วยทิฏฐิ (ทิฏฐิยา สุปฏิวิทธา) ฯ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น