ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม
นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง
วันจันทร์ ๖ที่พฤศจิกายน
พุทธศักราช๒๕๖๐
๑.
ปฏิสันถาร
มีอะไรบ้าง?มีประโยชน์อย่างไร?
ตอบ
มี ๑.
อามิสปฏิสันถาร ต้อนรับด้วยสิ่งของ
๒. ธัมมปฏิสันถาร ต้อนรับโดยธรรม ฯ มีประโยชน์อย่างนี้ คือ
๑. เป็นอุบายสร้างความสามัคคีและยึดเหนี่ยวน้ าใจกัน
๒.
เป็นการรักษาไมตรีจิตระหว่างกันและกันให้มั่นคงยิ่งข
๒.
การพิจารณาสังขารทั้งหลายโดยความเป็นไตรลักษณ์ จัดเป็นกัมมัฏฐานอะไร?มีประโยชน์อย่างไร?
ตอบ จัดเป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน ฯ
มีประโยชน์ คือทให้รู้จักสภาพที่เป็นจริงแห่งสังขารทั้งหลายว่า
ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาแล้วเกิดความเบื่อหน่ายในสังขาร
ทั้งหลายเหล่านั้น ฯ
๓.
ปาฏิหาริย์มีอะไรบ้าง?ทาไมจึงยกย่องอนุสาสนีปาฏิหาริย์ว่าอัศจ?
ตอบ มี๓ อย่าง คือ
๑.
อิทธิปาฏิหาริย์ ฤทธิ์เป็นอัศจรรย์
๒. อาเทสนาปาฏิหาริย์รู้ใจเป็นอัศจรรย์
๓. อนุสาสนีปาฏิหาริย์
ค าสอนเป็นอัศจรรย์ ฯ เพราะอาจจูงใจผู้ฟังให้เห็นคล้อยตาม ละความชั่วท าความดี
ตั้งแต่ขั้นต่ า คือการถึงสรณะและรักษาศีล ตลอดถึงขั้นสูง คือมรรคผลนิพพานได้ ฯ
๔.
ทิฏฐิ
ความเห็นผิด ท่านเรียกว่า โอฆะ โยคะ อาสวะ เพราะเหตุใด?
ตอบ เรียกว่า โอฆะ เพราะเป็นดุจกระแสน้ าอันท่วมใจสัตว์
เรียกว่า โยคะ เพราะประกอบสัตว์ไว้ในภพ
เรียกว่า อาสวะ เพราะเป็นสภาพหมักหมมอยู่ในกระแสจิต ฯ
๕.
ปัญจขันธ์
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่าเป็นมาร มีอธิบายว่า?
ตอบ มีอธิบายว่า
ปัญจขันธ์นั้นบางทีทาความล าบาก บางทีท าให้เกิดความ เบื่อหน่าย
จนถึงฆ่าตัวตายก็มี ฯ
๖.
ในวิมุตติ๕วิมุตติอย่างไหนเป็นโลกิยะ
อย่างไหนเป็นโลกุตระ?
ตอบ ตทังควิมุตติ
และวิกขัมภนวิมุตติ จัดเป็นโลกิยะ ส่วนสมุจเฉทวิมุตติ
ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ และนิสสรณวิมุตติ จัดเป็นโลกุตระ ฯ
๗.
พระพุทธคุณ
บทว่า อรห ที่แปลว่า เป็นผู้หักก
าแห่งสังสา
ก าแห่งสังสารจักร ได้แก่อะไร?
ตอบ ได้แก่ อวิชชา ตัณหา อุปาทาน และกรรม ฯ
๘.
พระสงฆ์ ในบทสังฆคุณ๙ท่านหมายถึงพระสงฆ์เช่นไร? ค าว่า“อุชุปฏิปนฺโน เป็นผู้ปฏิบัติตรง” คือปฏิบัติเช่นไร?
ตอบ หมายถึง
พระสาวกผู้ได้บรรลุธรรมวิเศษตั้งแต่โสดาปัตติมรรคเป็ คือไม่ปฏิบัติลวงโลก
ไม่มีมายาสาไถย ประพฤติตรง ตรงต่อพระศาส และเพื่อนสาวกด้วยกัน ไม่อ าพรางความในใจ
ไม่มีแง่งอน ฯ
๙.
บารมี คืออะไร?ท าอย่างไร เรียกว่าอธิษฐานบารมี ?
ตอบ คือปฏิปทาอันยิ่งยวด
หรือคุณธรรมที่ประพฤติอย่างยิ่งยวด ได้แก่ ความดีที่บ าเพ็ญอย่างพิเศษ
เพื่อบรรลุเป้าหมายสูงสุ ความตั้งใจมั่นตัดสินใจเด็ดเดี่ยว วางจุดหมายแห่งการกระท
าขอ แน่นอน และด าเนินตามนั้นอย่างแน่วแน่เรียกว่าอธิษฐานบารมี ฯ
๑๐. ในกรรม ๑๒ อุปัตถัมภกกรรม กับ อุปปีฬกกรรม ท
าหน้าที่ต่า อย่างไร?
ตอบ อุปัตถัมภกกรรม
ท าหน้าที่สนับสนุนผลแห่งชนกกรรม อุปปีฬกกรรม ท าหน้าที่บีบคั้นผลแห่งชนกกรรม ฯ
ให้เวลา๓ ชั่วโมง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น