ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ
นักธรรมชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์ ที่
๑๕ พฤศจิกายน..๒๕๖๒
๑. อนุพุทธบุคคล คือใคร?เป็นได้เฉพาะบรรพชิตหรือเฉพาะคฤหัสถ์?
ตอบ คือ สาวกของพระพุทธเจ้า
ที่ท่านได้ตรัสรู้มรรคผลตามพระพุทธ เป็นได้ทั้งบรรพชิตและคฤหัสถ์ ฯ
๒. พระปัญจวัคคีย์ได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์รรมเทศนาด้วยพระธ
ชื่ออะไร?ความย่อว่าอย่างไร?
ตอบ ชื่อ
อนัตตลักขณสูตร ฯ
ความย่อว่า รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ไม่เที่ยง เป็นทุ
เป็นอนัตตา ฯ
๓. ยสกุลบุตรได้ฟังธรรมจากพระศาสดาเป็นครั้งแรก
?ณ ที่ไหน ธรรมนั้นมีชื่อว่าอะไร?
ตอบ ณ
ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี ฯ อนุปุพพีกถาและอริยสัจ ๔ ฯ
๔. พระอรหันต์ ๖๐ องค์
ที่พระพุทธเจ้าทรงส่งไปประกาศพระศาส ครั้งแรกมีใครบ้าง?
ตอบ มีพระปัญจวัคคีย์
๕ พระยสะ ๑ สหายของพระยสะที่ปรากฏนาม ๔ และที่ไม่ปรากฏนามอีก ๕๐ ฯ
๕. ความเป็นผู้มีบริวารมาก เป็นผลมาจากอ?พระสาวกองค์ใดไร ได้รับการยกย่องว่าเลิศในทางนี้?
ตอบ เป็นผลมาจากความรู้จักเอาใจบริษัท
รู้จักสงเคราะห์ด้วยอามิ
ด้วยธรรมบ้าง ฯ
พระอุรุเวลกัสสปะ ฯ
๖. ธรรมเสนาบดี และ นวกัมมาธิฏฐายี เป็นนามของพระสาวกองค์ใด?
เพราะเหตุไรจึงมีนามเช่นนั้น?
ตอบ ธรรมเสนาบดีเป็นนามของพระสารีบุตรเถระ
เพราะท่านเป็นกำลัง
สำคัญยิ่งในการประกาศพระพุทธศาสนา ฯ
นวกัมมาธิฏฐายี เป็นนามของพระโมคคัลลานเถระ เพราะท่าน
เป็นผู้สามารถกำกับดูแลการก่อสร้าง ฯ
๗. พระโอวาทที่พระศาสดาทรงประทานในการให้อุปสมบทแก่
พระมหากัสสปะมีกี่ข้อ?อะไรบ้าง ?
ตอบ มี ๓ ข้อ ฯ
คือ
๑. เราจักเข้าไปตั้งความละอาย และความยำเกรงอย่างแรงกล้าไว้
ในภิกษุทั้งที่เป็นเถระปานกลาง และผู้ใหม่
๒. เราจักเงี่ยหูลงฟังธรรมอันประกอบด้วยกุศล และพิจารณา
เนื้อความแห่งธรรมนั้น
๓. เราจักไม่ละสติที่ไปในกาย ฯ
๘. พระโมฆราช และ พระอุบาลี
ได้รับการยกย่องว่าเลิศในทางไหน? ตอบ
พระโมฆราช ได้รับยกย่องว่าเป็นผู้ทรงจีวรเศร้าหมอง พระอุบาลีได้รับยกย่องว่าเป็นผู้ทรงพระวินัย
ฯ
ศาสนพิธี
๙. การศึกษาให้เข้าใจในศาสนพิธี
มีประโยชน์อย่างไร? ตอบ ๑. ทำให้เข้าใจเรื่องของศาสนพิธีได้โดยถูกต้อง
๒. ทำให้เห็นเป็นเรื่องสำคัญ ไม่ไร้สาระ
๓. ทำให้ปฏิบัติได้ถูกต้องไม่ผิดเพี้ยนจากขนบธรรมเนียมประ
๑๐. การทำวัตรสวดมนต์ มีประโยชน์อย่า?จงอธิบายไร
ตอบ เป็นอุบายสงบใจ
ไม่ให้คิดวุ่นวายตามอารมณ์ได้ชั่วขณะที่ท
เมื่อทำประจำวันละ ๒ เวลาทั้งเช้าเย็นงละครึ่งชั่วโมงครั้ หรือ ๑
ชั่วโมงเป็นอย่างน้อย ก็เท่ากับได้ใช้เวลาสงบจิตได้ วันละไม ใน ๒๔ ชั่วโมง ฯ
ให้เวลา ๓ ชั่วโมง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น